คน-ทง-ตว-ม-ผน
Saturday, 12 February 2022
  1. การแต่งคำประพันธ์ - ภาษาไทยง่ายนิดเดียว
  2. Google
  3. ช่วยแต่งกลอนหน่อยค่ะ¡-¡ - Pantip
  4. ตัวอย่าง โคลง สี่ สุภาพ 1 บท

สอนวาดรูป การ์ตูน ป๊อบอาย Pop Eye สอนวาดการ์ตูน โดย วาดการ์ตูน กันเถอะ - YouTube

การแต่งคำประพันธ์ - ภาษาไทยง่ายนิดเดียว

  • งาน วัน นี้ เป็น อย่างไร บ้าง ภาษา อังกฤษ
  • โคลงสี่สุภาพ - วิกิพีเดีย
  • โคลง สี่ สุภาพ 1 บท
  • Kitchen vintage เตา แม่เหล็ก ไฟฟ้า

คือครูสั่งงานให้แต่งกลอนมา ตอนนี้คิดไม่ออก ช่วยแต่งหน่อยค่ะ¡-¡ หรือแนะนำตัวอย่าง, ศัพท์สุภาพมาทีค่ะ เช่นแบบ พฤกษา ธรณี อะไรอย่างนี้อะค่ะ คือแบบ แนะนำศัพสุภาพๆ พร้อมความหมาย ต้องการจริมๆ¡-¡ แสดงความคิดเห็น

Google

คำประพันธ์ คือ ถ้อยคำที่ได้ร้อยกรอง หรือเรียบเรียงขึ้น โดยมีข้อบังคับ จำกัดคำ และวรรคตอน ให้รับสัมผัสกันอย่างไพเราะ ตาม กฎเกณฑ์ ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ คำประพันธ์ จำแนกออกเป็น ๔ ชนิดใหญ่ๆ คือ โคลง ลิลิต ฉันท์ กาพย์ และ กลอน คำประพันธ์ที่ดี จะต้องประกอบด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑. มีข้อความดี ๒. มีสัมผัสดี ๓. แต่งถูกต้องตามลักษณะบังคับ คำประพันธ์ประเภท "กลอน" กลอน คือ ลักษณะคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะบังคับคณะและสัมผัส แต่ไม่บังคับ เอกโท และ ครุ-ลหุ กลอนสองวรรคเท่ากับหนึ่งบาท กลอนสี่บาทเท่ากับหนึ่งบท วรรคทั้งสี่ของกลอนยังมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันอีก คือ ๑. วรรคแรก หรือ วรรคสดับ คำสุดท้ายของวรรคนิยมใช้เสียงเต้น (คือนอกจากเสียงสามัญ) จะทำให้เกิดความไพเราะ แต่ถ้าจะใช้เสียงสามัญก็ไม่ห้าม ๒. วรรคสอง หรือ วรรครับ คำสุดท้ายของวรรคนิยมเสียงจัตวา จะใช้เสียงเอก เสียงโทบ้างก็ได้ แต่ไม่ควรใช้เสียงสามัญหรือเสียงตรี ถ้าจะใช้เสียงเอก คำสุดท้ายของวรรครองควรเป็นเสียงตรี ๓. วรรคสาม หรือ วรรครอง คำสุดท้ายของวรรคนิยมใช้เสียงสามัญ ไม่ควรใช้ คำตายและคำที่มีรูปวรรณยุกต์ ๔.

คำโท คือ คำที่มีรูปวรรณยุกต์โทกำกับ เช่น ฟ้า บ้าน ใกล้ เช้า คำโทโทษ คือการเปลี่ยนพยัญชนะต้นเพื่อให้เขียนด้วยรูปวรรณยุกต์โทได้ โดยออกเสียงเหมือนเดิม เช่น พ่าง เขียนเป็น ผ้าง คว่ำ เขียนเป็น ขว้ำ แน่ เขียนเป็นแหน้ เง่า เขียนเป็น เหง้า ร่าย เขียนเป็น หร้าย เป็นต้น 5. คำสร้อย คือคำที่เขียนเพิ่มเติมขึ้นท้ายวรรคที่อนุญาตให้ใช้คำสร้อยได้ โดยไม่กำนดความหมายเพิ่มขึ้นเพื่อความไพเราะ เช่น " ภุมราอยู่ไกลสถาน นับโยชน์ ก็ดี " หรืออาจต้องใช้คำสร้อยเพียงคำเดียว เพื่อต่อความให้สมบูรณ์ เช่น " เว้นเล่าลิขิตสัง เกตว่าง เว้นนา " ลักษณะการบังคับ 1. โคลงสี่สุภาพ 1 บท มี 4 บรรทัด 2. โคลงสี่สุภาพ 1 บรรทัด แล่งออกเป็น วรรคหน้า และวรรคหลัง 3. โคลงสี่สุภาพ วรรคหน้า มี 5 คำ วรรคหลังมี 2 คำ ส่วนคำที่อยู่ใน วงเล็บสีเขียวจะมีหรือไม่มีก็ได้ เป็นเพียงสร้อยเพื่อให้ไพเราะ 4. โคลงสี่สุภาพ 1 บท จะบังคับให้มีวรรณยุกต์เอก 7 คำ และโท 4 คำ (ในกรณีที่หาคำที่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์ไม่ได้ จะใช้เสียงวรรณยุกต์แทน) 5. การสัมผัสหรือคำคล้องจอง เป็นไปตามผัง

ช่วยแต่งกลอนหน่อยค่ะ¡-¡ - Pantip

คำที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ คำโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่ว่าจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน คำเอก คำโท ใช้ในการแต่งคำประพันธ์ประเภท "โคลง" และ "ร่าย"และถือว่าเป็นข้อบังคับของฉันทลักษณ์ที่สำคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคำที่ไม่เคยใช้รูปเอก รูปโท แปลงมาใช้ เอก และ โท ได้ เช่น เล่น นำมาเขียนใช้เป็น เหล้น ได้ เรียกว่า "โทโทษ" ห้าม ข้อน นำมาเขียนเป็น ฮ่าม ค่อน เรียกว่า "เอกโทษ" เอกโทษและโทโทษ นำมาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เอกโทษและโทโทษ ที่มา:

↑ สุภาพร มากแจ้ง. กวีนิพนธ์ไทย 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2535.

ตัวอย่าง โคลง สี่ สุภาพ 1 บท

ตัวอย่าง โคลง สี่ สุภาพ 1 บท

เรียนรู้ "โคลงสี่สุภาพ" ข้อบังคับของโคลงสี่สุภาพ (สังเกตจากแผนผัง) ๑. บทหนึ่งมี ๔ บรรทัด ๒. วรรคหน้าของทุกบรรทัด มี ๕ พยางค์ วรรคหลังของบรรทัดที่ ๑ - ๓ มี ๒ พยางค์ บรรทัดที่ ๔ มี ๔ พยางค์ สามารถท่องจำนวนพยางค์ได้ดังนี้ ห้า -สอง ( สร้อย ๒ พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ) ห้า- สอง ห้า - สอง (สร้อย ๒ พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ) ห้า - สี่ (หากจะให้เกิดความไพเราะในการอ่านนิยมลงเสียงจัตวา) ๓. มีตำแหน่งสัมผัสตามเส้นโยง ๔. บังคับรูปวรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔ ตามตำแหน่งในแผนผัง ๕. กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้ คำเอกคำโท หมายถึงพยางค์ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก และรูปวรรณยุต์โท กำกับอยู่ในคำนั้น โดยมีลักษณะบังคับไว้ดังนี้ คำเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ และให้รวมถึง คำตายทั้งหมด ไม่ว่าจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด (ในโคลงและร่ายใช้ คำตาย แทนคำเอกได้) คำตาย คือ 1. คำที่ประสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตัวสะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ยะ เลอะ โปีะ ฯลฯ 2.

ลักษณะคำประพันธ์โคลงสี่สุภาพ โคลงสี่สุภาพกำหนดให้บทหนึ่งมี 4 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค คือ วรรคหน้ากับวรรคหลัง วรรคหน้ามี 5 พยางค์ วรรคหลังมี 2 พยางค์ ยกเว้นบาทที่ 4 ให้มี 4 พยางค์ และเพิ่มคำสร้อยได้ที่บาทที่ 1 และ 3 แห่งละ 2 พยางค์ โคลงสี่สุภาพมีตำแหน่งบังคับคำเอก 7 แห่ง คำโท 2 แห่ง คำเอกนั้นสามารถใช้คำตายหรือคำเอกโทษแทนได้ ส่วนคำโทให้ใช้โทโทษแทนได้ 2. คำเป็นคำตาย มีลักษณะดังต่อไปนี้ คำเป็น 1. คำที่ประสมสระเสียงยาวในมาตราแม่ ก กา เช่น ตามี ดี งู โต โลเล เกเร รวมทั้งคำที่ประสมสระ อำ ไ - ใ - เ - า เช่น น้ำ ใจ ไม่ เบา 2. คำที่มีตัวสะกดในมาตราแม่ กง กน เกย เกอว เช่น เป็นสาวแล้วยังกินนมเนยผองเพื่อนหิวโหยความเป็นธรรม คำตาย 1. คำที่ประสมสระเสียงสั้นในมาตราแม่ ก กา เช่น จะ กะทิ เตะ ทะลุ โละ เป็นต้น 2. คำที่มีตัวสะกด ในมาตราแม่ กก กด กบ เช่น สุข มาก หมด เมฆ โรค พยัคฆ์ เป็นต้น 3. คำเอก คือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกำกับ เช่น แม่ เก่ง ไม่ เด่น ต่อ พรุ่ง คำเอกโทษ คือ การเปลี่ยนพยัญชนะเพื่อให้เขียนด้วยรูปวรรณยุกต์เอกได้ เช่น ผู้คน เขียนว่า พู่คน ข้าว เขียนว่า ค่าว ถ้ำ เขียนว่า ท่ำ ฝ้า เขียนว่า ฟ้า เป็นต้น 4.